32 Forms of Shree Ganesh
Exploring the 32 Forms of Lord Ganesha: Divine Manifestations and Their Significance Lord Ganesha, the revered Elephant-headed God, is a deity of immense significance in Hinduism. He is known as […]
ชุมชนคนรักฮินดู
Exploring the 32 Forms of Lord Ganesha: Divine Manifestations and Their Significance Lord Ganesha, the revered Elephant-headed God, is a deity of immense significance in Hinduism. He is known as […]
“ศฺรี ลกฺษมี ชยนฺตี – ปงฺคุนิ อุตฺติรมฺ” (มีนา อุตฺตร ผาลฺคุนี)” ชย ศรีมนฺนารายณ! “ปังคุนิ อุตติรัม” เป็นวันสำคัญทางศาสนาของศาสนิกชนชาวฮินดู โดยเฉพาะชาวทมิฬในอินเดียทางตอนใต้ ปังคุนิ อุตติรัม เป็นวันที่เชื่อกันว่าพระศรีลักษมีทรงปรากฏขึ้นจากการกวนทะเลน้ำนมเกษียรสมุทร ซึ่งเชื่อกันว่าในช่วงเวลาขณะนั้นพระจันทร์ปรากฏอยู่ในดิถี ปุรณิมา(คืนจันทร์เพ็ญ)อีกทั้งยังปรากฏ”กลุ่มดาวนักษัตร อุตตระ ผาลคุนี”อีกด้วย ซึ่งเหตุการนี้เกิดขึ้นในเดือน”ปังคุนิ” ซึ่งเป็นชื่อเดือนลำดับที่ 12 (ลำดับสุดท้าย)ของปฏิทินตามระบบสูรยคติของชาวทมิฬ (ชื่อเดือน”ปังคุนิ”ตรงกับชื่อเดือน”ผาลคุนะ”ในภาษาสันสกฤต) ตามความเชื่อของศรีไวษณวะ ศรีสัมประทายะ ปาญจาราตราคมะ […]
“อาฏิมาสัม-เดือนทมิฬตามปฏิทินสูรยคติ!!!”สำคัญยังไง? ทำไมต้องมู?????ชัย ศรีมันนารายณะ!… ในปีปัจจุบันนี้ เวลาก็ได้ล่วงเลยมาจนถึงครึ่งปีหลังแล้ว ในครึ่งเดือนแรกของครึ่งปีหลังก็ กาลของเดือนแห่งความศักดิ์สิทธิ์และการอุทิศตน อันมีความสำคัญยิ่งต่อทุกนิกายและสายสัมประทายะ นั่นคือช่วง…”อาฏิมาสัม”… ก็ได้กลับมาเยือนอีกครา..ในช่วงอาฏิมาสัมนี่ ผู้ศรัทธาทุกหมู่เหล่าทั้งในต่างประเทศและในประเทศไทยของเราก็ต่างเฝ้ารอที่จะได้ทำการบูชาและอุทิศตนต่อพระเป็นเจ้าผู้เป็นที่รักในรูปนามต่าง ๆ ที่ตนศรัทธากันแต่แล้วทำไม? เพราะอะไร? เดือน”อาฏิ”ถึงได้สำคัญนัก และเดือนนี้มีความพิเศษยังไง? แล้วมีอะไรต้องทราบบ้างเกี่ยวกับอาฏิมาสัม? ติดตามแต่ละหัวข้อได้ ในบทความนี้เลยยยย!…○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○○…”อาฏิมาสัม – #Ādi_Māsam“…ในบรรดาเดือนทั้งสิบสองเดือนตามปฏิทินแบบสูรยคติของชาวทมิฬนั้น เดือน”อาฏิ”นับเป็นเดือนลำดับที่ 4 และหากนับตามปฏิทินสากลแล้ว จะเข้าสู่ช่วงเดือนอาฏิมาสัมประมาณช่วงกลางเดือนกรกฏาคมและจะไปสิ้นสุดลงในช่วงกลางเดือนสิงหาคมแม้ว่าในคัมภีร์อาคมะและบทประพันธ์ศักดิ์สิทธิ์”ติรุมุไร”ของชาวทมิฬจะไม่ได้กล่าวถึงความโดดเด่น หรือ กำเนิด ความเป็นมาและความสำคัญของเดือนอาฏิไว้โดยตรง ไม่เหมือนเช่นเดือน”จิตติไร”ที่ถูกนับเป็นช่วงปีใหม่ และเดือน”ไท”ที่เป็นช่วงฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร ยังไงก็ตามชนชาวทมิฬก็ยังเฉลิมฉลองและทำการอุทิศตนเพื่อการบูชาปรนนิบัติพระเป็นเจ้าในเดือนนี้อย่างเสมอมา…เพราะเดือน […]
เทวปกรณ์การอุบัติขึ้นของพระวิฆเนศวร หรือ พระพิฆเนศวร ที่ชาวไทยรู้จักกันนั้นมีมากมายหลายตำนานตามคัมภีร์ปุราณะต่างๆ ทั้งนี้ผมจะขอยกตำนานที่ผู้คนมิค่อยทราบกันเสียเท่าไร และไม่มีกล่าวถึงในประเทศไทยเลย คือ ตำนานการอุบัติขึ้นของพระวิฆเนศวร ในลลิโตปาขยานะ (Lalitopakhyana) ส่วนหนึ่งของพรหมาณฑะมหาปุราณะ (Brahmanda Mahapurana)ในการนี้จะขอเริ่มกล่าวจาก ในช่วงสงครามของ พระลลิตามพิกา (Lalitambika) และ ภัณฑาสุระ (Bhandasura) หลังจากพระบาลามพิกา (Balambika) พระธิดาของพระลลิตา ตริปุรสุนทรี ทรงสังหารซึ่งโอรสทั้ง 30ตนของภัณฑะลงแล้ว ภัณฑะได้ส่งอสูรนาม วิศุกระ(Vishukra)สู่สนามรบ ภายใต้ความมืดของราตรีกาล วิศุกระได้จัดพิธีลึกลับขึ้นที่สนามรบ ด้วยการสถาปนายันตระลึกลับและการใช้มนตร์ดำ […]
ในภาพหรือบางประติมากรรมของ พระลลิตามพิกา หรือ โษฑศี และพระกาลี เราอาจพบเห็นพระเทวีประทับบนร่างของเทพทั้งห้า ซึ่งเรียกว่า ปัญจเปรตาสนะ (पंचप्रेतासन/Panchapretasana) (อาสนะร่างอันไร้วิญญาณทั้งห้า) ซึ่งคือ ปัญจพรหมะ (पंचब्रह्म/Panchabrahma) (เทพสูงสุด หรือ ความจริงสูงสุดทั้งห้า) คือ พรหมา(ब्रह्मा/Brahma),วิษณุ(विष्णु/Vishnu),อีศวร(ईश्वर/Eshwara),รุทระ(रुद्र/Rudra) และ สทาศิวะ (सदाशिव/Sadashiva) หรือ สัทโยชาตะ(सद्योजात/Sadyojata),วามเทพ(वामदेव/Vamadeva),ตัตปุรุษะ(तत्पुरुष/Tatpurusha),อโฆระ(अघोर/Aghora) และ อีศานะ(ईशान/Eshana) ซึ่งเป็นรูปและพระพักตร์ทั้งห้าของพระศิวะ ซึ่งบ้างปรากฏเป็นรูปและคุณที่ต่างกันทั้งห้า และบ้างปรากฏเป็นใบหน้าอันมีวรรณะอันต่างกันของพระศิวะและบ้างว่า พรหมา คือ […]
ส่วนหนึ่งของบทโศลกอันงดงาม อันกล่าวถึงความงดงามของพระพักตร์แห่งพระเทวี จากบท ศรี ลลิตา สหัสรนามะ (พันนามพระลลิตา)วทนสฺมร มางฺคลฺย-คฺฤหโตรณ จิลฺลิกา।วกฺตฺรลกฺษมี ปรีวาห จลนฺมีนาภ-โลจนา॥#คำอ่านวะทะนัสมะระ มางคัลยะ คฤหะโตระณะ จิลลิกาวักตระลักษมี ปะรีวาหะ จะลันมีนาภะโลจะนา#คำแปลพระนางผู้ทรงมีพระขนง(คิ้ว)ดังประตูทางเข้าสู่คฤห(เรือนที่อาศัย)แห่งความงามแลความมงคลบนพระพักตร์อันทรงเสน่ห์.พระนางผู้ทรงมีดวงเนตรดุจดังมัจฉาอันงดงามซึ่งแวกว่ายบนกระแสแห่งความงดงามบนพระพักตร์.-ศรี ลลิตา สหัสรนามะ โศลกที่ 6แปลโดย มุรุเกศัน เทวี อุปาสกะ(กิตติกร อินทรักษา) Share via: Facebook Twitter LinkedIn Copy […]
มโนรูเปกฺษุโกทณฺฑา ปญฺจตนฺมาตฺรศายกา।( มโนรูเปกษุโกทัณฑา ปัญจะตันมาตระ ศายะกา)ข้อความข้างต้นคือ บาทแรกของ ศรีลลิตา สหัสรนามะ โศลกที่3 ซึ่งมีความหมายดังนี้พระนางผู้ทรงเกาทัณฑ์อ้อยอันเป็นรูปของจิตใจ พระนางผู้ทรงลูกกุทัณฑ์อันเป็นองค์ประกอบอันลึกซึ้งละเอียดอ่อนทั้งห้าอันปัญจตันมาตระ พาณะ หรือ ลูกศรอันเป็นองค์ประกอบอันลึกซึ้งละเอียดอ่อนทั้งห้า ของพระลลิตา ปรเมศวรี คัมภีร์ตันตระหลายเล่มก็ตีความแตกต่างกันไป บ้างกล่าวว่า ลูกศรทั้งห้าเป็นองค์แทนของจิตสัมผัสทั้งห้าได้แก่สปรรศะ (สัมผัส)รูปรสคัณธะ(กลิ่น) และศัพทะ (เสียง) บ้างว่า ลูกเกาทัณฑ์ทั้งห้าเป็นองค์แทนของมหาปัญจภูต หรือ ธาตุทั้งห้า อันได้แก่ปฤถวี (ดิน),ชล(น้ำ),วายุ(ลม),อัคนี(ไฟ) และอากาศส่วนคัมภีร์ชญานารนวะ ตันตระ […]
บทโศลกอันกล่าวถึงพระเทวีในฐานะมารดาของพระกุมารสวามี (ขันทกุมาร) และพระพิฆเนศ จาก ศรี ลลิตา สหัสรนามกุมาร-คณนาถามฺพา ตุษฺฏิะ ปุษฏิรฺ มติรฺ ธฤติะ।ศานฺติะ สฺวสฺติมตี กานฺติร นนฺทินี วิฆฺนนาศินี॥#คำอ่านกุมาระ-คะณะนาถามพา ตุษฏิห์ ปุษฏิร มะติร ธฤติห์ศานติห์ สวัสติมะตี กานติร นันทินี วิฆนะนาศินี#อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดียกุมาระ-กห์ะณะนาถามบา ตุชติฮิ ปุชติร มะติร ธริติฮิชานติฮิ สฺวัสติมะตี กานติร นันดินี […]
มหารูปา มหาปูชฺยา มหาปาตะกะนาศินีมหามายา มหาสัตวา มหาศักติร-มหาระติฮิพระนางพระผู้ทรงรูปอันยิ่งใหญ่ พระผู้ทรงความน่าเคารพนับถือยิ่ง พระนางผู้ทรงขจัดซึ่งบาปหนาทั้งปวงพระมหามายา พระมหาสัตว์ พระผู้ทรงอำนาจยิ่งใหญ่ พระนางผู้ทรงมหาฤดี.มหาโภคา มไหศฺวรรยาร-มหาวีรยาร-มหาพะลามหาพุทธิร-มหาสิทธิร-มหาโยเคศวะเรศวะรีพระนางผู้ทรงทรัพย์สมบัติอันยิ่งใหญ่ พระผู้ทรงมหาไอศูรย์ (อำนาจและสมบัติ) พระนางผู้ทรงความองอาจยิ่ง พระผู้ทรงมหาพล (พลกำลังอันยิ่งใหญ่)พระมหาพุทธิ (ผู้ทรงปัญญายิ่ง) พระมหาสิทธิ (ความสำเร็จ) พระนางผู้ทรงเป็นเจ้าเหนือมหาโยคีทั้งปวง.มหาตันตรา มหามันตรา มหายันตรา มหาสะนามหายาคะกระมาราธยา มหาไภระวะปูชิตาพระนางผู้ทรงเป็นมหาตันตระ พระนางผู้ทรงเป็นมหามนตร์ พระผู้ทรงมหายันต์ พระผู้ทรงอาวุโสยิ่งพระผู้ทรงเป็นรูปแบบแห่งยาคะ พระนางผู้ทรงได้รับการบูชาจากพระมหาไภรพ.มะเหศวะระ-มหากัลปะ-มหาตาณฑวะสากษิณีมหากาเมศะมหิษี มหาตริปุระสุนทะรีพระนางผู้ทรงเป็นสักขีพยานต่อการร่ายรำด้วยท่วงท่าอันรุนแรง(ตาณฑวะ) แห่งพระมเหศวร […]
กาตตะวะรายัน (காத்தவராயன்/Kathavarayan) ท่านเป็นหนึ่งในเทพผู้พิทักษ์ชุมชนของชาวตมิฬ ซึ่งในภาษาตมิฬเรียกว่า กาวัล เดย์วัม (காவல் தெய்வம்/Kaval deivam) หรือ ครามะ เทวตา (ग्रामदेवता/Grama Devata) ในภาษาสันสกฤต แต่ท่านเป็นเพียงเทพผู้พิทักษ์ชุมชน ของบางหมู่บ้านเท่านั้น และไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าที่ควร อย่างมุนีศวรัน และกรุปปัณณะซามิที่สักการะกันอย่างแพร่หลาย (ผมเองไปถามชาวตมิฬบางคนก็ไม่รู้จัก ก็มี) กาตตะวะรายัน นับถือเป็นบุตรและผู้อารักขาของพระกามากษี (காமாட்சி/Kamakshi) หรือ พระอุมา ในรูปของเจ้าแม่ต่างๆ ที่เรียกโดยรวมๆว่า อัมมัน […]
Cookie | Duration | Description |
---|---|---|
cookielawinfo-checkbox-analytics | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics". |
cookielawinfo-checkbox-functional | 11 months | The cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional". |
cookielawinfo-checkbox-necessary | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary". |
cookielawinfo-checkbox-others | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other. |
cookielawinfo-checkbox-performance | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance". |
viewed_cookie_policy | 11 months | The cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data. |