กุงกุมัม หรือ กุมกุมะ และ ซินดูร เป็นผงสีแดงที่ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และมีสีแดงเช่นเดียวกัน จนบางท่านอาจใช้ปนกัน หรือผู้ขายบางท่านอาจไม่รู้จักถึงความแตกต่าง ก็อาจมีการขายซินดูรในชื่อของกุมกุมอยู่บ่อยครั้ง ถึงผงกุงกุมัม และซินดูรจะมีสีแดงคล้ายๆกัน แต่ทั้งสองมีความแตกต่างกัน และจุดประสงค์ที่แตกต่างกันในบางประการ กุงกุมัม Kungumam กุงกุมะ (कुंकुम/Kunkuma) หรือ กุมกุม (कुमकुम/Kumkum) ในสำเนียงเสียงภาษาฮินดี และ กุงกุมัม (குங்குமம்/കുങ്കുമം/Kungumam) ในภาษาตมิฬและมลยาลำ เป็นผงสีแดง ค่อนข้างมีสีที่เข้ม จนถึงสีแดงเลือดหมู กุงกุมะในสมัยก่อนมักนำมาจากเกสรของดอกหญ้าฝรั่น […]
เรื่องทั่วไป
อัษฏภารยา พระมเหสีทั้งแปดนางของพระวาสุเทพ กฤษณะ
อัษฏภารยา (अष्टभार्या/Ashtabharya) หรือ พระมเหสีทั้งแปดนางของพระวาสุเทพ กฤษณะ (8 consorts of Vasudeva Krishna) ซึ่งทั้งแปดนางล้วนแต่เป็นขัตติยธิดา จากราชวงศ์ต่างๆ อันทั้งแปดนางนั้นล้วนแต่เป็นผู้ภักดีต่อพระกฤษณะโดยการพัฒนาภักติจากการมีความรักให้แก่พระมาธวะเอง อันพระชคันโมหนะ(ผู้ทรงยังให้ทั้งพิภพหลงใหล)นั้น ทรงเป็นผู้มีความกรุณาดุจสาคร ทรงตอบสนองต่อทุกความปรารถนาของผู้ภักดี ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงรับขัตติยกันยาทั้งแปดเป็นพระมเหสี อันคอยปรนนิบัติรับใช้แทบเบื้องบาทบงกชแห่งองค์พระทวารกาทีศะอยู่เสมอ อัษฏภารยา กอปรด้วยขัตติยกันยาทั้งแปดเหล่านี้ อันได้แก่ 1.พระนางรุกมิณี (रुक्मिणी/Rukmini) พระนางรุกมิณี ทรงเป็นพระธิดาของ ท้าวภีษมกะ (भीषमक/Bhishmaka) พระมหาราชแห่ง แคว้นวิทรรภ (विदर्भ/Vidarbha) […]
สุทรรศนะ
สุทรรศนะ (सुदर्शन/Sudarshana) หมายถึง วิสัยทัศน์ที่ดี มาจากคำสันสกฤตสองคำคือ สุ (सु/su) เป็น คำอุปสรรค (पूर्वप्रत्यय/prefix) เติมหน้าคำนาม มีความหมายถึง ดี,ดีงาม,เป็นมงคล (Good, beautiful, Auspicious) และ ทรรศนะ (दर्शन/Darshana) อันหมายถึง วิสัยทัศน์,การมองเห็น หรือ ทัศนคติ (Vision) สุทรรศนะ จักระ จึงแปลความโดยคร่าวได้ว่า กงล้ออันนำมาซึ่งวิสัยทัศน์ที่ดี มีนัยถึง วิชา […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม นวกโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่9) धृतसुदर्शनं कृष्णमच्युतं विजयसारथिं गीतसारसम्। पशुपगोपिकानर्तनप्रियं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ ธฤตสุทรฺศนํ กฤษฺณมจฺยุตํ วิชยสารถิํ คีตสารสมฺฯ ปศุปโคปิกานรฺตนปฺริยํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน ธฤตะ สุทัรศะนัม กฤษณะมัจยุตัม วิชะยะสาระถิม คีตาสาระสัม ปะศุปะ-โคปิกา-นัรตะนะปริยัม คุรุมะรุตปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงอินเดียโดยคร่าว ทริตะ สุดัรชะนัม กริชณะมัจยุตัม วิจะยะซาระถิม กีห์ตา ซาระซัม ปะชุปะ […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม อัษฏกโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่8) वरहलायुधं रोहिणीसुतं गिरिधराग्रजं रामदैवतम्। गजगणप्रियं धीमतां वरं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ วรหลายุธํ โรหิณีสุตํ คิริธราคฺรชํ รามไทวตมฺฯ คชคณปฺริยํ ธีมตำ วรํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน วะระหะลายุธัม โรหิณีสุตัม คิริธะราคระชัม รามะไทวะตัม คะชะคะณะ ปริยัม ธีมะตาม วะรัม คุรุมะรุตฺปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดียโดยคร่าว วะระฮะลายุธัม […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม สัปตมโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่7) दशरथात्मजं रामभद्रकं शारधनुर्धरं रावणान्तकम्। पुरुषमव्ययं श्रीनिकेतनं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ ทศรถาตฺมชํ รามภทฺรกํ ศารธนุรฺธรํ ราวณานฺตกมฺฯ ปุรุษมวฺยยํ ศฺรีนิเกตนํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน ทะศะระถาตฺมะชัม รามะภัทระกัม ศาระ ธะนุรฺธะรัม ราวะณานฺตะกัม ปุรุษะมัวยะยัม ศฺรีนิเกตะนัม คุรุมะรุตฺปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย ดะชะระท้าตฺมะจัม รามะภัดระกัม ซาระ ธะนุรฺธะรัม […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม ษัษฐโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่6) भृगुकुलोद्भवं रामनामकं सुगुणभासुरं रेणुकात्मजम्। नृवरतापसं केरळाधिपं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ ภฤคุกุโลทฺภวํ รามนามกํ สุคุณภาสุรํ เรณุกาตฺมชมฺฯ นฤวรตาปสํ เกรฬาธิปํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน ภฤคุกุโลทภะวัม รามะนามะกัม สุคุณะ ภาสุรัม เรณุกาตมะชัม นฤวะระ ตาปะสัม เกระฬาธิปัม คุรุมะรุตปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย บฺริกุ กุโล้ดภะวัม รามะนามะกัม […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม ปัญจมโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่5) चरितविश्रुतं वामनाकृतिं परमपुरुषं यागसाधकम्। परपदप्रदं पापनाशकं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ จริตวิศฺรุตํ วามนากฤติํ ปรมปุรุษํ ยาคสาธกมฺฯ ปรปทปฺรทํ ปาปนาศกํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน จะริตะวิศรุตัม วามะนากฤติม ปะระมะปุรุษัม ยาคะสาธะกัม ปะระปะทะ ประทัม ปาปะนาศะกัม คุรุมะรุตปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย จะริตะวิชรุตัม วามะนากริติม ปะระมะปุรุชัม ยากะสาธะกัม […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม จตุรถโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่4) वरदमीश्वरं नरसिंहकं वपुषि भीकरं पुण्यपूरकम्। सुरगणावृतं भक्तवत्सलं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ วรทมีศฺวรํ นรสิํหกํ วปุษิ ภีกรํ ปุณยปูรกมฺฯ สุรคณาวฤตํ ภกฺตวตฺสลํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่านไทย วะระทะมีศวะรัม นะระสิงหะกัม วะปุษิ ภีกะรัม ปุณยะปูระกัม สุระคะณาวฤตัม ภักตะวัตสะลัม คุรุมะรุตปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย วะระดะมีชวะรัม นะระซิงฮะกัม […]