เทวปกรณ์การอุบัติขึ้นของพระวิฆเนศวร หรือ พระพิฆเนศวร ที่ชาวไทยรู้จักกันนั้นมีมากมายหลายตำนานตามคัมภีร์ปุราณะต่างๆ ทั้งนี้ผมจะขอยกตำนานที่ผู้คนมิค่อยทราบกันเสียเท่าไร และไม่มีกล่าวถึงในประเทศไทยเลย คือ ตำนานการอุบัติขึ้นของพระวิฆเนศวร ในลลิโตปาขยานะ (Lalitopakhyana) ส่วนหนึ่งของพรหมาณฑะมหาปุราณะ (Brahmanda Mahapurana)ในการนี้จะขอเริ่มกล่าวจาก ในช่วงสงครามของ พระลลิตามพิกา (Lalitambika) และ ภัณฑาสุระ (Bhandasura) หลังจากพระบาลามพิกา (Balambika) พระธิดาของพระลลิตา ตริปุรสุนทรี ทรงสังหารซึ่งโอรสทั้ง 30ตนของภัณฑะลงแล้ว ภัณฑะได้ส่งอสูรนาม วิศุกระ(Vishukra)สู่สนามรบ ภายใต้ความมืดของราตรีกาล วิศุกระได้จัดพิธีลึกลับขึ้นที่สนามรบ ด้วยการสถาปนายันตระลึกลับและการใช้มนตร์ดำ […]
Tag: ศรี
ศรี ลลิตา สหัสรนามะ โศลกที่ 6
ส่วนหนึ่งของบทโศลกอันงดงาม อันกล่าวถึงความงดงามของพระพักตร์แห่งพระเทวี จากบท ศรี ลลิตา สหัสรนามะ (พันนามพระลลิตา)วทนสฺมร มางฺคลฺย-คฺฤหโตรณ จิลฺลิกา।วกฺตฺรลกฺษมี ปรีวาห จลนฺมีนาภ-โลจนา॥#คำอ่านวะทะนัสมะระ มางคัลยะ คฤหะโตระณะ จิลลิกาวักตระลักษมี ปะรีวาหะ จะลันมีนาภะโลจะนา#คำแปลพระนางผู้ทรงมีพระขนง(คิ้ว)ดังประตูทางเข้าสู่คฤห(เรือนที่อาศัย)แห่งความงามแลความมงคลบนพระพักตร์อันทรงเสน่ห์.พระนางผู้ทรงมีดวงเนตรดุจดังมัจฉาอันงดงามซึ่งแวกว่ายบนกระแสแห่งความงดงามบนพระพักตร์.-ศรี ลลิตา สหัสรนามะ โศลกที่ 6แปลโดย มุรุเกศัน เทวี อุปาสกะ(กิตติกร อินทรักษา)
ศรี ลลิตา สหัสรนามะ สโตตระ โศลกที่ 94
บทโศลกอันกล่าวถึงพระเทวีในฐานะมารดาของพระกุมารสวามี (ขันทกุมาร) และพระพิฆเนศ จาก ศรี ลลิตา สหัสรนามกุมาร-คณนาถามฺพา ตุษฺฏิะ ปุษฏิรฺ มติรฺ ธฤติะ।ศานฺติะ สฺวสฺติมตี กานฺติร นนฺทินี วิฆฺนนาศินี॥#คำอ่านกุมาระ-คะณะนาถามพา ตุษฏิห์ ปุษฏิร มะติร ธฤติห์ศานติห์ สวัสติมะตี กานติร นันทินี วิฆนะนาศินี#อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดียกุมาระ-กห์ะณะนาถามบา ตุชติฮิ ปุชติร มะติร ธริติฮิชานติฮิ สฺวัสติมะตี กานติร นันดินี […]
ศรี ลลิตา สหัสรนามะ สโตตระ โศลกที่ 54-57
มหารูปา มหาปูชฺยา มหาปาตะกะนาศินีมหามายา มหาสัตวา มหาศักติร-มหาระติฮิพระนางพระผู้ทรงรูปอันยิ่งใหญ่ พระผู้ทรงความน่าเคารพนับถือยิ่ง พระนางผู้ทรงขจัดซึ่งบาปหนาทั้งปวงพระมหามายา พระมหาสัตว์ พระผู้ทรงอำนาจยิ่งใหญ่ พระนางผู้ทรงมหาฤดี.มหาโภคา มไหศฺวรรยาร-มหาวีรยาร-มหาพะลามหาพุทธิร-มหาสิทธิร-มหาโยเคศวะเรศวะรีพระนางผู้ทรงทรัพย์สมบัติอันยิ่งใหญ่ พระผู้ทรงมหาไอศูรย์ (อำนาจและสมบัติ) พระนางผู้ทรงความองอาจยิ่ง พระผู้ทรงมหาพล (พลกำลังอันยิ่งใหญ่)พระมหาพุทธิ (ผู้ทรงปัญญายิ่ง) พระมหาสิทธิ (ความสำเร็จ) พระนางผู้ทรงเป็นเจ้าเหนือมหาโยคีทั้งปวง.มหาตันตรา มหามันตรา มหายันตรา มหาสะนามหายาคะกระมาราธยา มหาไภระวะปูชิตาพระนางผู้ทรงเป็นมหาตันตระ พระนางผู้ทรงเป็นมหามนตร์ พระผู้ทรงมหายันต์ พระผู้ทรงอาวุโสยิ่งพระผู้ทรงเป็นรูปแบบแห่งยาคะ พระนางผู้ทรงได้รับการบูชาจากพระมหาไภรพ.มะเหศวะระ-มหากัลปะ-มหาตาณฑวะสากษิณีมหากาเมศะมหิษี มหาตริปุระสุนทะรีพระนางผู้ทรงเป็นสักขีพยานต่อการร่ายรำด้วยท่วงท่าอันรุนแรง(ตาณฑวะ) แห่งพระมเหศวร […]
ชคัทคุรุ ศรี อาทิ ศังกราจารย์
ชคัทคุรุ ศรี อาทิ ศังกราจารย์ (जगद्गुरु श्री आदि शङ्कराचार्य/Jagad Guru Shri Adi Shankaracharya) ท่านถือกำเนิดขึ้นที่หมู่บ้านกาลฑี ในแคว้นเจระ (ปัจจุบันคือ เกรละ) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ท่านเป็นผู้เผยแพร่หลักปรัชญาอัทไวตะ เวทานตะ (अद्वैत वेदान्त/Advaita Vedanta) ซึ่งกล่าวถึง พรหมัน เป็นความจริงแท้ ความจริงหนึ่งเดียวสูงสุด ไร้รูป ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในจักรวาลเป็นเพียงมายาของพรหมัน เชื่อกันว่า ชคัทคุรุ […]
ศรี คุรุวายุปุเรศ ธยานะ มนตรัม
(บททำการสมาธิระลึกถึงพระคุรุวายุปุเรศ) पीताम्बरं करविराजितशङ्ख-चक्र-कौमोदकीसरसिजं करुणासमुद्रम्। राधासहायमतिसुन्दरमन्दहासं वातालयेशमनिशां हृदि भावयामि ॥ คำอ่านไทย ปีตามพะรัม กะระวิราชิตะศังขะ-จักระ-เกาโมทกี-สะระสิชัม กะรุณาสะมุทรัม ราธา สะหายะมะติ สุนทะระมันทะหาสัม วาตาละเยศะมะนิศาม หฤทิ ภาวะยามิ อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดียโดยคร่าว ปีตามบะรัม กะระวิราจิตะซังคะ จักระ เกาโมดะกี สะระสิจัม กะรุณาสะมุดรัม ราธา สะฮายะมะติ ซุนดะระมันดะฮาซัม วาตาละเยซะมะนิชาม […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม นวกโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่9) धृतसुदर्शनं कृष्णमच्युतं विजयसारथिं गीतसारसम्। पशुपगोपिकानर्तनप्रियं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ ธฤตสุทรฺศนํ กฤษฺณมจฺยุตํ วิชยสารถิํ คีตสารสมฺฯ ปศุปโคปิกานรฺตนปฺริยํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน ธฤตะ สุทัรศะนัม กฤษณะมัจยุตัม วิชะยะสาระถิม คีตาสาระสัม ปะศุปะ-โคปิกา-นัรตะนะปริยัม คุรุมะรุตปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงอินเดียโดยคร่าว ทริตะ สุดัรชะนัม กริชณะมัจยุตัม วิจะยะซาระถิม กีห์ตา ซาระซัม ปะชุปะ […]
ศรี คุรุมรุตปุราธีศะ ทศกะ สโตตรัม อัษฏกโศลก
(บทสรรเสริญ10บทแห่งพระคุรุมรุตปุราธีศะ บทที่8) वरहलायुधं रोहिणीसुतं गिरिधराग्रजं रामदैवतम्। गजगणप्रियं धीमतां वरं गुरुमरुत्पुराधीशमाश्रये॥ วรหลายุธํ โรหิณีสุตํ คิริธราคฺรชํ รามไทวตมฺฯ คชคณปฺริยํ ธีมตำ วรํ คุรุมรุตฺปุราธีศมาศฺรเยฯ। คำอ่าน วะระหะลายุธัม โรหิณีสุตัม คิริธะราคระชัม รามะไทวะตัม คะชะคะณะ ปริยัม ธีมะตาม วะรัม คุรุมะรุตฺปุราธีศะมาศระเย อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดียโดยคร่าว วะระฮะลายุธัม […]