

Related Articles
พระฤๅษีครรคะ เปิดเผยฐานะที่แท้จริงของกฤษณะ
श्रीगर्ग उवाच आसन् वर्णास्त्रयो ह्यस्य गृह्णतोऽनुयुगं तनू:। शुक्लो रक्तस्तथा पीत इदानीं कृष्णतां गत:॥ प्रागयं वसुदेवस्य क्वचिज्जातस्तवात्मज:। वासुदेव इति श्रीमानभिज्ञा: सम्प्रचक्षते॥ बहूनि सन्ति नामानि रूपाणि च सुतस्य ते। गुणकर्मानुरूपाणि तान्यहं वेद नो जना:॥ ศฺรีครฺค อุวาจ อาสนฺ วรฺณาสฺตฺรโย หฺยสฺย คฤหฺณโต(อ)นุยุคํ ตนุะฯ ศุกฺโล รกฺตสฺตถา ปีต อิทานีํ กฤษฺณตำ คตะฯ। ปฺราคยํ วสุเทวสฺย กฺวจิชฺชาตสฺตฺวาตฺมชะฯ วาสุเทว อิติ ศฺรีมานภิชฺญาะ สมฺปฺรจกฺษเตฯ। พหูนิ สนฺติ นามานิ […]
อัษฏภารยา พระมเหสีทั้งแปดนางของพระวาสุเทพ กฤษณะ
อัษฏภารยา (अष्टभार्या/Ashtabharya) หรือ พระมเหสีทั้งแปดนางของพระวาสุเทพ กฤษณะ (8 consorts of Vasudeva Krishna) ซึ่งทั้งแปดนางล้วนแต่เป็นขัตติยธิดา จากราชวงศ์ต่างๆ อันทั้งแปดนางนั้นล้วนแต่เป็นผู้ภักดีต่อพระกฤษณะโดยการพัฒนาภักติจากการมีความรักให้แก่พระมาธวะเอง อันพระชคันโมหนะ(ผู้ทรงยังให้ทั้งพิภพหลงใหล)นั้น ทรงเป็นผู้มีความกรุณาดุจสาคร ทรงตอบสนองต่อทุกความปรารถนาของผู้ภักดี ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงรับขัตติยกันยาทั้งแปดเป็นพระมเหสี อันคอยปรนนิบัติรับใช้แทบเบื้องบาทบงกชแห่งองค์พระทวารกาทีศะอยู่เสมอ อัษฏภารยา กอปรด้วยขัตติยกันยาทั้งแปดเหล่านี้ อันได้แก่ 1.พระนางรุกมิณี (रुक्मिणी/Rukmini) พระนางรุกมิณี ทรงเป็นพระธิดาของ ท้าวภีษมกะ (भीषमक/Bhishmaka) พระมหาราชแห่ง แคว้นวิทรรภ (विदर्भ/Vidarbha) *(ปัจจุบันคือ เขตนาคปูร และ อมราวตีในตอนบนของรัฐมหาราษฏร) ทรงมีพระเชษฐาพระนามว่า รุกมิณ (रुक्मिण/Rukmin) พระนางนั้นทรงเป็นอวตาร แห่ง พระศรีมหาลักษมี (श्री महालक्ष्मी/Sri Mahalakshmi) ทรงหลงรักพระกฤษณะ แม้ได้ยินเพียงแค่พระนาม และ เกียรติยศ ของพระองค์เท่านั้น แต่ทว่า พระเชษฐารุกมิณทรงไม่เห็นดีเห็นงาม เพราะทรงเป็นพันธมิตร กับ ชราสันธ์ ราชาแห่งแคว้นมคธ ซึ่งเป็นศัตรูร้ายกาจของพระกฤษณะ […]
พราหมณ์ กับ บัณฑิต ต่างกันอย่างไร ?
คำว่าบัณฑิต มาจากคำสันสกฤต ว่า ปณฺฑิต (ปัณ ฑิ ตะ) แปลว่า ผู้รู้ ชาวอินเดีย ใช้คำนี้ยกย่อง ผู้รู้ รวมถึงบรรดาพราหมณ์ที่ประกอบพิธีกรรมในวัดด้วย คือในอินเดีย ถ้าบอกว่า พราหมณ์ เขาจะหมายถึง “ผู้ที่เกิดในวรรณะพราหมณ์” ซึ่งจะเป็นใครก็ได้ที่เกิดในวรรณพราหมณ์ ดังนั้นคำนี้จึงคล้ายๆเป็นคำบอก สถานภาพของการเกิดทางสังคมมากกว่าตำแหน่งของตัว และผู้ที่เกิดในวรรณะพราหมณ์ในอินเดีย อาจประกอบอาชีพอื่นๆที่ไม่ใช่ผู้ประกอบพิธีกรรมก็ได้ เช่น สอนหนังสือ ทำงานราชการ หรือ ค้าขาย ฯลฯ เมื่อเกิดในวรรณะพราหมณ์แล้ว บางคนจึงเข้าเรียนในระบบอาศรม หรือคุรุกุล เพื่อเรียนพระเวท และกัลปะพิธีกรรมต่างๆ เมื่อเรียนจบแล้ว คนก็ยกย่องว่าเป็นผู้รู้ มีความรู้ในพระเวท คัมภีร์สำคัญ และกัลปะพิธีกรรมต่างๆ ดังนั้นชาวอินเดีย จึงยกย่องเรียกพราหมณ์ที่ประกอบพิธี ซึ่งหมายความว่าได้ผ่านการเล่าเรียนมาแล้ว ว่าบัณฑิต หมายถึงผู้รู้ แต่คำๆนี้อาจหมายถึง ผู้รู้อื่นๆที่ไม่ใช่ผู้ประกอบพิธีกรรมในวัดก็ได้ เป้นศาสนิกชนฮินดูแต่ได้รับการยกย่องจากสังคมว่ามีความรู้ความสามารถ เช่น บัณฑิตยาวหลาล […]