(บทสดุดีอวตารรูปแห่งปราชญ์ผู้ตื่นรู้) निन्दसि यज्ञविधेरहह श्रुतिजातं सदयहृदय-दर्शित-पशुघातम्। केशव धृतबुद्धशरीर जय जगदीश हरे॥ นินฺทสิ ยชฺญวิเธรหห ศฺรุติชาตํ สทยหฤทย-ทรฺศิต-ปศุฆาตมฺฯ เกศว ธฤตพุทฺธศรีร ชย ชคทีศ หเรฯ। คำอ่าน นินทะสิ ยัชญะวิเธระหะหะ ศฺรุติชาตัม สะทะยะ หฤทะยะ ทรรศิตะ ปะศุฆาตัม เกศะวะ ธฤตะพุทธะ ศะรีระ […]
Month: December 2021
ศรีวิฐฐละ แห่ง ปัณฒรปูร
พระวิฐฐละ (विठ्ठल/Vitthala) หรือ วิโฐพา (विठोबा/Vithoba) และในอีกพระนาม ปาณฑุรังคะ (पांडुरंग/Panduranga) ทรงเป็นภาคปรากฏหนึ่ง ของ ศรีกฤษณะ (श्रीकृष्ण/Sri Krishna) ในเมือง ปัณฒรปูร (पंढरपूर/Pandharpur)ในเขต โสลาปูร (सोलापूर/Solapur)ของรัฐมหาราษฏร ( महाराष्ट्र/Maharashtra) หรือ เขตของชาว มราฐา (मराठा/Maratha) *ผู้พูดภาษามราฐี (मराठी/Marathi) พระวิฐฐละ ทรงเป็นที่เครพศรัทธากันในหมู่ชาวอินเดีย(เฉพาะที่เป็นฮินดูนะครับ)ทางตอนใต้ ตั้งแต่ มหาราษฏร […]
ศีตลา เทวี ธฺยานะ มนตระ ตถา ศีตลา เทวี สตุติ
(บทสมาธิระลึกถึงพระศีตลาเทวี และบทสดุดี) वन्देऽहं शीतलां-देवीं रासभस्थां दिगम्बराम्। मार्जनी कलशोपेतां शूर्पालङ्कृतमस्तकाम्॥ วันเท(อ)หํ ศีตลำ เทวีํ ราสภสฺถำ ทิคมฺพรามฺฯ มารฺชนี กลโศเปตำ ศูรฺปาลํกฤตมสฺตกามฺฯ। คำอ่าน วันเทฮัม ศีตะลาม เทวีม ราสะภัสถาม (ราสะภะ-สฺถาม) ทิคัมพะราม มารชะนี กะละโศเปตาม ศูรปาลังกฤตะ มัสตะกาม อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย วันเดฮัม […]
พระแม่ศีตลา พระเทวีผู้ขจัดโรคด้วยความเย็น
พระแม่ศีตลา (शीतला / Sheetala) ทรงเป็นเทวีท้องถิ่นของอินเดียภาคเหนือ และมีการเคารพสักการะอยู่บ้างทางตอนใต้ของอินเดีย ทรงเป็นเทวีแห่งโรคผิวหนังต่างๆ มีความเชื่อว่า ทรงเป็นผู้ก่อเกิดโรคด้วยความโกรธกริ้วของพระนาง และเป็นผู้รับรักษาโรคเอง เช่นเดียวกับความเชื่อเจ้าแม่ท้องถิ่นต่างๆของอินเดียใต้ ตำนานของพระนางมีอยู่ว่า ครั้งหนึ่ง ชวราสุระ (ज्वरासुर / Jwarasura) อสูรแห่งความเจ็บไข้ได้ป่วย (ชวระ -การเจ็บไข้ได้ป่วย) ได้สร้างความเดือดร้อนไปทั่วปฐพี่ เหล่ามุนี นักสิทธิ์ทั้งหลายจึงสวดภาวนาถึง พระทุรคา (दुर्गा / Durga) หรือ กาตยายนี (कात्यायनी […]
ทำอย่างไรถึงจะเข้าถึงพระผู้เป็นเจ้า?
ในวันนี้เราก็จะมาตอบคำถามที่ทุกคนสงสัย และเคยถามกันเข้ามา นั้นคือ คำถามที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะเข้าถึงพระเป็นเจ้า หรือ เทพที่ตนสักการะบูชาอยู่ ซึ่งคำตอบของคำถามนี้ พระกฤษณะทรงเคยตรัสตอบไว้ด้วยพระองค์เอง ณ ทุ่งกุรุเกษตร ในยุคที่แล้ว (ทวาปรยุค) หรือ เมื่อห้าพันกว่าปีก่อน ซึ่งพระฤๅษีวยาสผู้เป็นรูปอวตารหนึ่งของพระภควานเอง ได้รวบรวมเป็นคัมภีร์ ศรีมัทภควัทคีตา หรือ คีโตปนิษัท เผยแพร่ต่อชนทั้งหลายในเวลาต่อมา ถึงหนทางในการเข้าถึงพระผู้เป็นเจ้า อันประกอบด้วยหลักปุรุษารถะ และโยคะในรูปแบบต่างๆ ในการเข้าถึงพระเป็นเจ้า อันเป็นจุดสูงสุดของชีวิต ตามหลักปุรุษารถะนั้น ในการณ์นี้ ผมจึงขอยกข้อความพระดำรัส ของพระอุตตมะ […]
พระราหู และพระเกตุ
พระราหู และพระเกตุนั้นมิใช่พระเคราะห์แท้ แต่เป็นบุคลาธิษฐานของเงาที่ทับซ้อนกันระหว่าง โลก,พระอาทิตย์ และพระจันทร์ ซึ่งก่อให้เกิดคราส จัดเป็นอุปเคราะห์ ราหูนั้นทรงเป็นพระเคราะห์แห่ง โรคภัย ความเฉื่อยชา และความเกียจคร้าน ถือเป็นบาปเคราะห์ มีกำลังในเวลากลางคืน ใช้เวลาในการโคจรครบทุกราศี เป็นเวลา 18 ปี และโคจรต่างจากพระเคราะห์อื่นๆ โดย ราหู และเกตุจะโคจรตามเข็มนาฬิกา ในขณะที่พระเคราะห์อื่นโคจรทวนเข็มนาฬิกา ราหูนั้นเป็นมิตรกับ เสาร์,พุธ และศุกร์ เป็นศัตรูกับ อาทิตย์,จันทร์ และอังคาร เป็นกลางกับ พฤหัสบดี […]
ศรี มหาลักษมี อัษฏกัม อัษฏกะ โศลก(ที่8)
(บทสรรเสริญพระศรีมหาลักษมี8บท บทคาถาที่8) श्वेताम्बरधरे देवि नानालङ्कारभूषिते। जगत्स्थिते जगन्मातर् महालक्ष्मि नमोऽस्तु ते॥ เศฺวตามฺพรธเร เทวิ นานาลงฺการภูษิเตฯ ชคตฺสฺถิเต ชคนฺมาตรฺ มหาลกฺษมิ นโม(อ)สฺตุ เตฯ। คำอ่าน เศฺวตามพะระธะเร เทวิ นานาลังการะภูษิเต ชคัต-สฺถิเต ชะคันมาตัร มะหาลักษมิ นะโมสตุ เต อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย เชฺวตามบะระธะเร เดวิ […]
ศรี มหาลักษมี อัษฏกัม สัปตมะ โศลก(ที่7)
(บทสรรเสริญพระศรีมหาลักษมี8บท บทคาถาที่7) पद्मासनस्थिते देवि परब्रह्मस्वरूपिणि। परमेशि जगन्मातर् महालक्ष्मि नमोऽस्तु ते॥ ปทฺมาสนสฺถิเต เทวิ ปรพฺรหฺมสฺวรูปิณิฯ ปรเมศิ ชคนฺมาตรฺ มหาลกฺษมิ นโม(อ)สฺตุ เตฯ। คำอ่าน ปัทมาสะนัสถิเต เทวิ ปะระพฺรหฺมะ-สฺวรูปิณิ ปะระเมศิ ชะคันมาตัร มะหาลักษมิ นะโมสตุ เต อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย ปัดมาสะนัสถิเต เดวิ […]