ขอขอบพระคุณ “ประวัติศาสตร์ นอกตำรา” ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการเผยแพร่

พราหมณ์ไทยมาจากไหน ตามไปสืบค้นร่องรอยที่อินเดีย l ประวัติศาสตร์นอกตำรา Ep.16
ขอขอบพระคุณ “ประวัติศาสตร์ นอกตำรา” ที่ให้ความอนุเคราะห์ในการเผยแพร่
ชุมชนคนรักฮินดู
ความลับของลูกศรทั้งห้า มโนรูเปกฺษุโกทณฺฑา ปญฺจตนฺมาตฺรศายกา। ( มโนรูเปกษุโกทัณฑา ปัญจะตันมาตระ ศายะกา) ข้อความข้างต้นคือ บาทแรกของ ศรีลลิตา สหัสรนามะ โศลกที่3 ซึ่งมีความหมายดังนี้ พระนางผู้ทรงเกาทัณฑ์อ้อยอันเป็นรูปของจิตใจ พระนางผู้ทรงลูกกุทัณฑ์อันเป็นองค์ประกอบอันลึกซึ้งละเอียดอ่อนทั้งห้า อันปัญจตันมาตระ พาณะ หรือ ลูกศรอันเป็นองค์ประกอบอันลึกซึ้งละเอียดอ่อนทั้งห้า ของพระลลิตา ปรเมศวรี คัมภีร์ตันตระหลายเล่มก็ตีความแตกต่างกันไป บ้างกล่าวว่า ลูกศรทั้งห้าเป็นองค์แทนของจิตสัมผัสทั้งห้าได้แก่ สปรรศะ (สัมผัส) รูป รส คัณธะ(กลิ่น) และศัพทะ (เสียง) บ้างว่า ลูกเกาทัณฑ์ทั้งห้าเป็นองค์แทนของมหาปัญจภูต หรือ ธาตุทั้งห้า อันได้แก่ ปฤถวี (ดิน),ชล(น้ำ),วายุ(ลม),อัคนี(ไฟ) และอากาศ ส่วนคัมภีร์ชญานารนวะ ตันตระ กล่าวว่า ลูกกุทัณฑ์ทั้งห้านั้นเป็นองค์แทนของ กโษภณะ (การเร้าอารมณ์) ทราวณะ (ความเวทนา) อากรรษณะ (การจูงใจ) วาสยะ (การอ่อนน้อมถ่อมตน,การเชื่อฟัง) และ อุนมธะ (ความลุ่มหลงมัวเมา) ทางด้านคัมภีร์ตันตระ […]
(บทสรรเสริญพระศรีมหาลักษมี 8บท บทคาถาที่2) नमस्ते गरुडारूढे कोलासुरभयंकरि। सर्वपापहरे देवि महालक्ष्मि नमोऽस्तु ते॥ นมสฺเต ครุฑารูเฒ โกลาสุรภยํกริ สรฺวปาปหเร เทวิ มหาลกฺษมิ นโม(อ)สฺตุ เต คำอ่าน นะมัสเต คะรุฑารูเฒ โกลาสุระ-ภะยังกะริ สัรวะปาปะหะเร เทวิ มะหาลักษมิ นะโมสตุ เต อ่านออกเสียงสำเนียงอินเดีย นะมัสเต กะรุดารูเฒ โกลาสุระ ภะยังกะริ สัรวะปาปะฮะเร เดวิ มะฮาลักชมิ นะโมสตุ เต คำแปล อันความนอบน้อมมีแด่ พระนางผู้ทรงครุฑา พระนางผู้ยังให้อสูรโกละหวาดกลัว พระเทพี พระผู้ทรงขจัดบาปทั้งปวง ข้าแต่พระมหาลักษมี ขอความนอบน้อมมีแด่พระองค์เทอญ. ภาพประกอบ: Sri Vaishnavi Devi at Sri Vaishnavi Devi shrine […]
พระฉินนมัสตา (छिन्नमस्ता/chinnamasta) หรือ ฉินนมัสติกา (छिन्नमस्तिका/Chinnamastika) และ ประจัณฑะ จัณฑิกา (प्रचण्ड चण्डिका/Prachanda Chandika) ทรงเป็นหนึ่งในทศมหาวิทยา เทวี ซึ่งเป็นคณะเทวีที่ได้รับการบูชาในคติตันตระ ทรงเป็นเทวีแห่งปัญญาญาน อันอยู่เหนือกามารมณ์ และการตะหนักรู้ในตนเอง พระนามของพระนางนั้นมาจากศัพท์ภาษาสันสกฤตสองคำ คือ ฉินนะ (छिन्न/Chinna) ซึ่งหมายถึง การตัด,การฉีก,ฉีกขาด และการแบ่ง สมาสกับ มัสตะ (मस्त/Masta) หรือ มัสตกะ (मस्तक/Mastaka) อันหมายถึง ศีรษะ เมื่อนำมาเป็นนามสตรี จึงมีการลงเสียงเพื่อบอกเพศ จึงได้รูป ฉินนมัสตา (छिन्नमस्ता/Chinnamasta) และ ฉินนมัสติกา (छिन्नमस्तिका/Chinnamastika) อันหมายถึง นางผู้ตัดเศียร,นางผู้มีพระเศียรที่ฉีกขาด ส่วนนาม ประจัณฑะ จัณฑิกานั้น มาจากคำว่า ประจัณฑะ (प्रचण्ड/Prachanda) ซึ่งหมายถึง ดุร้าย,รุนแรง,ร้อนแรง และความน่าเกรงขาม สมาสกับ จัณฑิกา (चण्डिका/Chandika) นามหนึ่งของพระเทวี […]
Cookie | Duration | Description |
---|---|---|
cookielawinfo-checkbox-analytics | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Analytics". |
cookielawinfo-checkbox-functional | 11 months | The cookie is set by GDPR cookie consent to record the user consent for the cookies in the category "Functional". |
cookielawinfo-checkbox-necessary | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookies is used to store the user consent for the cookies in the category "Necessary". |
cookielawinfo-checkbox-others | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Other. |
cookielawinfo-checkbox-performance | 11 months | This cookie is set by GDPR Cookie Consent plugin. The cookie is used to store the user consent for the cookies in the category "Performance". |
viewed_cookie_policy | 11 months | The cookie is set by the GDPR Cookie Consent plugin and is used to store whether or not user has consented to the use of cookies. It does not store any personal data. |